วันศุกร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2557

โทรทัศน์ครู
สรุปโทรทัศน์ครู   :  ห้องเรียนแรกของเด็กพิเศษ โรงเรียนสาธิตละออธิต
1. การส่งต่อจากครอบครัวหรือผู้เชี่ยวชาญ 
     เด็กมีความบกพร่องกล้ามเนื้อ และภาษาช้า
2. ประเมินพัฒนาการตามช่วงวัย
     ประเมินผลตามศักยภาพตามช่วงวัยของเด็ก
3. การวางแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลหรือเฉพาะครอบครัว
    เพิ่มทักษะทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ มัดเล็ก  ภาษา สังคม การช่วยเหลือตนเอง และเตรียมวิชาการ ในกรณี 0-3 ขวบจะจัดแผนการศึกษาเฉพาะครอบครัว (ISFP)
4. การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะอย่างรอบด้าน
    การจัดกิจกรรมเป็นการฝึกทักษะ การเดิน  การวิ่ง โดยทำกิจกรรมซ้ำๆ
5. ประเมินผล
   
การสอนทักษะพื้นฐานในกิจวัตรประจำวัน
   สอนให้เด็กได้ช้วยเหลือตนเอง หยิบขนมกิน เคี้ยวข้าวกินเอง เด็กอายุ 3 ขวบ ตักข้าวกินเองได้แล้ว นำจานไปไว้ได้แล้ว ครูจะต้องมีความอดทนเป็นอย่างมากในการสอนเด็กพิเศษ
น้องปอ : การออกแบบกิจกรรมเพื่อกระตุ้นพัฒนาการอย่างรอบด้าน
น้องมีปัญหาในการเดินไม่ยกเท้า โดยกิจกรรมเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
กิจกรรมการเคลื่อน ทรงตัว ภาษา : หาหนังสือเกี่ยวกับเท้าว่าเท้ามีประโยชน์อย่างไร มียืน เดิน กระโดด  กิจกรรมนี้กระตุ้นในเรื่องของการเคลื่อนไหว การก้าวข้ามสิ่งกีดขวาง ร้จักเข้าใจภาษา    เดินไปหยิบจานน่ะ ซึ่งน้องปอสามารถที่จะจับจานมือเดียวได้เดินก้าวข้ามสิ่งกีดขวางนานไปไว้อีกฝั่งหนึ่งโดยมือและตาต้องสัมพันธ์กัน
น้องเฟย/น้องฟิลด์ : กิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก และสมาธิ
การให้เดินข้ามสิ่งกีดขวาง การทรงตัวล้ามเนื้อมัดใหญ่ การหยิบจับกล้ามเนื้อมัดเล็กการฝึกให้นิ่งลงจะเป็นการฝึกทักษะทางสังคมไปด้วย
น้องโฮบ : กิจกรรมกล้ามเนื้อมัดเล็ก การรับรู้สัมผัส
ฝึกทักษะการช่วยเหลือตนเอง กล้ามเนื้อมัดเล็ก  โดยสื่อมีไข่พลาสติกที่มีแป้งโดอยู่ข้างในเนื่องจากจะมีน้ำหนักเพราะเด็กพิเศษจะมีความรู้สึกกว่ามากของเบาและให้สัมผัสไก่ที่มีผิวนุ่มขรุขระเล็กน้อย
น้องกาฟิลด์ : กิจกรรมพัฒนาทักษะการมอง ทำตามคำสั่งและการสื่อสาร
เริ่มแรกมีอาการที่รุนแรงมากเมื่อได้รับการฝึกก็เริ่มดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดและจะต้องมีการย้ำทวนบ่อยๆชอบหรือไม่ชอบ
น้องจีจี้ : กิจกรรมพัฒนาทักษะการมอง ทำตามคำสั่งและพื้นฐานทางวิชาการ
น้องจีจี้มีปัญหาในการนั่งและการมองไม่มีสมาธิโดยจัดกิจกรรมการแยกสี การมอง
น้องเก่ง/น้องกล้า : กิจกรรมพัฒนาการฟัง การทรงตัว การสัมผัส
น้องมีปัญหาในเรื่องของการใช้มือในการสัมผัสทำกิจกรรมโดยกิจกรรมการสัมผัส มีลูกโป่ง เงาะ

เด็กพิเศษสามารถที่จะเรียนรวมกับคนอื่นได้หากได้ฝึกทักษะพื้นฐานเพื่อเตรียมตัวเข้าเรียนในโรงเรียนปกติ อย่างไรก็ตามเด็กทุกคนต้องการคนดูแลเอาใจใส่ ให้ความรักความอบอุ่นกับเขา สนใจและร่วมทำกิจกรรมกับเขาให้ได้มากที่สุด ครู ผู้ปกครองจะต้องมีความอดทนเป็นอย่างมาก และให้ความรักกับเขา ดูแลเขาอย่างดีที่สุดเด็กพิเศษทุกคนก็จะเติบโตมาเป็นคนดี และใช้ชีวิตในสังคมได้




วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่  15
วันอังคาร  ที่  25  พฤศจิกายน    พ.ศ.   2557


ความรู้ที่ได้รับ






การนำไปใช้
1. การจัดกิจกรรมกับเด็กสมาธิสั้นควรมีกิจกรรมที่หลากหลายและท้าทายความสมารถของเด็ก
2. การทำกิจกรรมต่างๆต้องมีวัตถุประสงค์ในการทำ

ประเมิน    
ตนเอง : ยังไม่ค่อยมีความรู้และประสบการณ์ก็จะตั้งใจและทำความเข้าใจนำเทคนิดวิธีการไปใช้เพื่อน : มีความตั้งและสนใจในการเรียนการสอน
อาจารย์ : ชี้แนะแนวทางในการใช้กับเด็ก และสาธิตการสอนให้นักศึกษาดูเป็นตัวอย่างเพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น



วันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 14
วันอังคาร  ที่  18 พฤศจิกายน  พ.ศ. 2557




กิจกรรมครูปฐมวัยร่วมใจอนุรักษ์สืบทอดความเป็นไทย




         
























วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 13 
วันอังคาร  ที่  11  พฤศจิกายน 2557



ความรู้ที่ได้รับ


PECS




การนำไปใช้   
          1.นำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการสอนโดยให้ทุกคนมีส่วนรวม
          2. กิจกรรมที่หลากหลายน่าสนใจ

ประเมิน 

ตนเอง :  มีความเข้าใจในการจัดการสอนสำหรับเด็กพิเศษเพิ่มขึ้นในระดับหนึ่ง ทำให้สามารถเข้าใจถึงความสำคัญของเด็ก

เพื่อน : มีความพร้อมที่จะรับรู้ในเนื่อหาการเรียนการสอน และมีการแสดงความคิดเห็นในสิ่งที่ตนสนใจ

อาจารย์ : มีการอธิบายชี้แนะแนวทางการปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อสอนเด็กพิเศษ ซึ่งอจารย์ได้บอกเทคนิดวิธีการที่เหมาะสมกับเด็กของเด็กละประเภทเพื่อให้เข้าใจสภาพความเป็นจริง 






วันเสาร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 12
วันอังคาร ที่ 4 พฤศจิกายน  พ.ศ. 2557

เฉลยข้อสอบ และตรวจข้อสอบ

ประเมิน 
ตนเอง : ในการทำข้อสอบครั้งนี้ก็มีความสับสนอยู่บ้างในบางข้ออาจจะกังวลมากเกินไปในการทำข้อสอบ  ไม่ค่อยมีความพร้อมมากสักเท่าไรกับการสอบแต่ก็พอใจกับผลงานของตัวเอง

เพื่อน : บางคนยังสับสนกับข้อสอบอยู่บางแต่ก็ทำออกมาได้ดี มีการตรวจดูความเข้าใจของตนเอง และข้อผิดพลาดเพื่อนำไปแก้ไขและมีการแสดงความคิดเห็นเพื่อให้เข้าใจเนื้อหาเพิ่มมากขึ้น

อาจารย์ : เฉลยข้อสอบพร้อมชี้แนะการทำข้อสอบของน.ศ. และอธิบายเนื้อหาในการตอบข้อสอบอย่างชัดเจนทำให้น.ศ. เข้าใจมากขึ้น

วันศุกร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11
วันอังคาร ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2557

สอบกลางภาค


บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 10 
วันอังคาร ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ความรู้ที่ได้รับ



ประเมิน ตนเอง: สามารถที่จะเข้าใจและเรียนรู้ถึงเนื้อหาของเด็กพิเศาประเภทต่างๆได้ และเข้าใจความแตกต่างของเด็กพิเศษแต่ละประเภทที่มีการดูแลแตกต่างกันออกไป
       เพื่อน : สามารถที่จะเข้าใจและรวมกันแสดงความคิดเห็นต่างกันออกไปซึ่งทุกคนมีความเข้าใจกันมากขึ้น
       อาจารย์ : อธิบายชี้แนะถึงเนื้อหา สาระให้เห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น เล่าประสบการณ์เพื่อเป็นแนวทางในการสอน
ของนศ. ต่อไป



วันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 9 
วันอังคาร  ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2557







เด็กออทิสติกที่มีอาการรุนแรง เมื่อภาษาและสังคมต่างจากการเคลื่อนไหวและรูปทรง ขนาดมากเท่าไรก็จะเกิดอาการรุนแรงมากขึ้นเท่านั้น

ประเมิน  ตนเอง: มีความเข้าใจในเรื่องของเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้และเด็กออทิสติก ซึ่งทำให้รู้สึกว่าคนเราเลือกเกิดไม่ได้แต่เลือกจะทำให้สิ่งที่เราจะเป็นได้
        เพื่อน:  มีความตั้งใจในการเรียนการสอน มีการแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างกันจากประสบการณ์ของแต่ละคนมาเล่าสู่กันฟัง
       อาจารย์: อธิบายเนื้อหาในการสอนได้ละเอียดสามารถทำให้เข้าใจเนื้อหาได้มากขึ้น และมีรูปภาพมาประกอบซึ่งมีความน่าสนใจมากขึ้น


วันศุกร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 7
วันอังคาร ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557

ไม่มีการเรียนการสอน



วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6
วันอังคาร ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557


ความรู้ที่ได้รับ

       

ประเมินตนเอง: สามารถที่จะเข้าใจเนื่อหาสาระของเด็กพิเศษได้เพิ่มมากขึ้นได้รู้ว่าเด็กพิเศษมีอีกหลายสิ่งหลายอย่างที่เขาต้องต่อสู้มากกว่าคนปกติทั่วไป
ประเมินเพื่อน: เพื่อนมีความตั้งใจศึกษาเนื้อหาและมีความสนใจกันเป็นอย่างมาก
ประเมินอาจารย์: อธิบายให้เห็นถึงภาพของเด็กพิเศษให้นศ.เข้าใจได้ง่าย และเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น


วันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 5
วันอังคาร ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2557

ความรู้ที่ได้รับ




ประเมินตนเอง: มีความตั้งใจและเข้าใจกับเนื้อหาสามรถที่จะเป็นแนวทางที่จะนำไปใช้ในอนาคตได้
ประเมินเพื่อน:  มีการถามและแสดงความคิดเห็นเพื่อให้เข้าใจถึงเนื้อหาที่เรียน
ประเมินอาจารย์: สามารถอธิบายถึงความบกพร่องของเด็กพิเศษความมีลักษณะอย่างไรซึ่งมาชองเห็นภาพและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงและอาจพบได้


วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 4
วันอังคาร ที่  9 กันยายน พ.ศ. 2557


ความรู้ที่ได้รับ



ประเมินตนเอง: ได้รู้ว่าเด็กพิเศษมีอีกหลายประเภทซึ่งจะมีความคล้ายและแตกต่างกันออกไปและสามารถเข้าใจถึงความผิดปกติของเด็กแต่ละประเภท
ประเมินเพื่อน: มีการนำเสนอที่ดีมาก ทำให้เข้าใจถึงเนื้อหาที่เรียนได้
ประเมินอาจารย์: อธิบายและชี้แนะในเนื้อหาที่หายไปทำให้เข้าใจและนำมาปรับปรุงใช้ได้





วันศุกร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3
วันอังคาร ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2557



ความรู้ที่ได้รับจากการดูงานศึกษาวิชาการ







บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2
วันอังคาร ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2557


ความรู้ที่ได้รับ





ประเมินตนเอง: ได้รู้ว่าเด็กพิเศษมีพัฒนาการที่ผิดปกติอย่างไรสาเหตุเกิดมาจากอะไรและปัจจัยที่ส่งผลกับพัฒนาการของเด็กมีอะไรบ้าง
ประเมินเพื่อน: มีความตั้งใจและสามารถที่จะแชร์ประสบการณ์ที่พบเห็นให้เพื่อนในห้องฟังได้
ประเมินอาจารย์: เล่าประสบการณ์ที่พบเห็นมาทำให้รู้ว่ามีเด็กพิเศษอีกหลายคนที่น่าเห็นใจและทำให้เขาใจถึงคำว่าเด็กพิเศษมากขึ้น




วันอังคารที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 1
วันอังคาร  ที่ 19  สิงหาคม  พ.ศ. 2557

ความรู้สึกก่อนเรียน
  ในความรู้สึกตอนแรก เด็กพิเศษเป็นเด็กที่ดูแลได้ยากและกลัวมาก ยังบอกกับตัวเองว่าถ้าเจอคงจะต้องแย่แน่ๆเลย 
สิ่งที่ได้รับ
  เมื่อรู้จักว่าเด็กพิเศษเป็นอย่างไรทำให้รู้สึกว่าจะต้องดูแลเขามากกว่าเด็กปกติทั่วไป ให้แรงจูงใจเขามากๆ พยายามที่จะเข้าใจในสิ่งที่เขาเป็น และช่วยเหลือเขาเมื่อเขามีปัญหาให้กำลังใจเขาตลอดเวลาไม่ทำให้เขารู้สึกว่าตัวเองมีปมดอยมากจนเกินไป ให้เขาให้ชีวิตประจำวัน

ประเมินตนเอง: ได้รู้ว่าเด็กพิเศษที่จริงแล้วเขาเป็นอย่างไรและสามารถเข้าใจในสิ่งที่เขาเป็น
ประเมินเพื่อน: มีความสนใจในการเรียนรู้เด็กพิเศษ ตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์: สามารถอธิบายบอกประสบการณ์ทำให้นศ.เข้าใจและมองเห็นภาพ